ทักษะ การ ทํา งาน หมาย ถึง

คุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน การมีคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานอย่างมีจิตสำนึก มีองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้ 3. 1 มีความซื่อสัตย์ จะต้องมีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่และงานที่เราได้รับมอบหมาย ปฎิบัติงานด้วยความจริงใจ และไม่คดโกงหรือหลอกลวงผู้อื่น 3. 2 มีความเสียสละ การทำงานร่วมกับผู้อื่น ต้องเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ไม่เห็นแก่ตัว รู้จักการให้และการแบ่งบัน 3. 3 มีความยุติธรรม ต้องไม่ลำเอียง ต้องมีความเป็นกลาง ยึดถือความถูกต้องเป็นหลัก ไม่มีอคติกับเรื่องต่างๆ 3. 4 มีความประหยัด ต้องรู้จักอดออม ไม่ฟุ่มเฟือย ต้องคำนึงถึงความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร 3. 5 มีความขยันและอดทน ต้องมีความมุ่งมั่นต่องานที่เราได้รับมอบหมาย เพื่องานนั้นบรรลุเป้าหมาย ตามที่ได้ตั้งไว้ 3. 6 มีความรับผิดชอบ ต้องมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ผู้ร่วมงาน ลูกค้า สังคม และสิ่งแวดล้อม 3. 7 มีความตรงต่อเวลา เป็นวินัยพื้นฐานในการทำงาน มีความตรงต่อเวลา ไม่มาทำงานสายและต้องส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนด 3. 8 มีการประกอบอาชีพที่สุจริต ต้องเลือกประกอบอาชีพที่สุจริตไม่ทำให้ผู้อื่นไม่เดือดร้อน ไม่เป็นภัยต่อสังคม 4. การใช้ทรัพยากรในการปฎบัติงาน ทรัพยากรที่นำมาใช้ในการปฎิบัติงาน คือ ทรัพยากรหรือวัตถุดิบนำมาใช้ในการทำงานการผลิตชิ้นงาน มีมูลค่าหรือคุณค่าในทางเศรษฐกิจ การใช้ทรัพยากรในการทำงานจะต้องคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ซึ่งการเลือกใช้ทรัพยากรที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ถือว่าเป็นหนึ่งในคุณธรรมและจริยธรรมในการปฎิบัติงาน และเราควรช่วยกันใช้ทรัพยากรในการปฎิบัติงางนให้คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ดังนี้ 4.

หน่วยที่ 1 ทักษะการทำงาน | Stmath09

พฤศจิกายน 17, 2017 article, Business, ธุรกิจ, เนื้อหาทั้งหมด 40, 872 Views SPONSORED LINKS การที่บุคคลทำ หน้าที่การจัดการ ได้ดีและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์การนั้นเป็นส่วนสำคัญของการเป็นผู้จัดการ โดยผู้จัดการต้องมีทักษะเพื่อจะสามารถทำสิ่งต่างๆ นั้นได้อย่างดี โดย ทักษะ หมายถึงความ สามารถเฉพาะอย่างที่เป็นผลจากการได้ใช้ฝึกฝนความรู้ ข้อมูลที่มีอยู่ ซึ่งทักษะสำหรับการจัดการสามารถจัดได้เป็น 3 กลุ่มหลักๆ ดังนี้ 1. ทักษะเกี่ยวกับงาน (Technical Skills) หมายถึงความสามารถและความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะอย่าง เช่น ผู้จัดการฝ่ายบัญชีมีความรู้ความสามารถในหลักการบัญชี และสามารถบันทึกรายการ รวมทั้งสามารถสรุปผลการดำเนินงานในรูปบัญชีได้ ในขณะที่ผู้จัดการฝ่ายผลิต มีความรู้และความสามารถในกระบวนการ ขั้นตอนการผลิต เป็นต้น โดยทั่วไปบุคคลจะได้รับความรู้เกี่ยวกับทักษะในงานจากการเรียนในสถานศึกษาและเมื่อมีโอกาสได้ใช้ความรู้นั้น ก็จะก่อเกิดเป็นทักษะในงานมากยิ่งขึ้น 2. ทักษะเกี่ยวกับคน (Human Skills) คือ การที่สามารถเข้าใจและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี เนื่องจากผู้จัดการคือบุคคลที่ทำงานสำเร็จโดยใช้บุคคลอื่น ผู้จัดการจำเป็นที่จะต้องสามารถโน้มน้าว จูงใจ และสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล 3.

ทักษะเพื่อพัฒนาการทำงาน หมายถึง การนำความรู้ ความสามารถ เทคนิค และวิธีการต่างๆ มาใช้ในการปฎิบัติให้สำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ปฎิบัติงานจำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถในงานที่ทำ มีทักษะในการวิเคราะห์งาน มีการวางแผนในการทำงานอย่างเป็นขั้นตอน สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแก้ปัญหาได้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการบริหารงาน สามารถปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่นและสถานที่ได้เป็นอย่างดี ทักษะเพื่อพัฒนาการทำงานที่สำคัญ คือ 1. การแสวงหาความรู้ การทำงานให้สำเร็จและมีประสิทธิภาพได้นั้น ผู้ปฎิบัติวานจะต้องมีการพัฒนาตนเองและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา การแสวงหาความรู้ มีดังนี้ 1. 1 การสังเกต เป็นการเฝ้าดูสิ่ง เก็บรายละเอียดที่เกิดขึ้นอย่างใส่ใจ แล้วนำมาวิเคราะห์ 1. 2 การฟัง เป็นการรับฟังข้อมูลอย่างไม่มีอคติ รับฟังจากหลายๆ แหล่ง แล้วนำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ แยกแยะข้อเท็จจริง 1. 3 การซักถาม เมื่อมีข้อสงสัยให้ซักถามผู้รู้ในประเด็นที่สนใจ 1. 4 การอ่าน เป็นการศึกษาค้นขว้าจากเอกสาร ตำรา วารสาร สื่อสารออนไลน์ต่างๆ 1. 5 การศึกษาค้นคว้า เป็นการแสวงหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ จากเอกสาร ตำรา บทความ ปราชญ์ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.

6 การสัมภาษณ์ เป็นการสนทนาตัวต่อตัวหรือใช้แบบสอบถาม 1. 7 การรวบรวมและบันทึกข้อมูล เป็นการบันทึกและนำข้อมูลมาทำเป็นฐานข้อมูลไว้ในรูปแบบต่างๆ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ต่อไป 2. กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน การแก้ปัญหาเป็นกระบวนการของความพยายามในการทำงานเพื่อให้ประสบความสำเร็จ เมี่อมีปัญหาเกิดขึ้นมาสามารถหาแนวแก้ปํญหาได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งคุณสมบัติเด่นของนักแก้ปัญหา คือ จะต้องมองเห็นปัญหาตั่งแต่ที่ยังเป็นปัญหาเล็กๆ มีมุมมองต่างๆ ที่กว้างไกล กล้าเผชิญกับปัญหาและพยายามหาหนทางใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาอย่างไม่ย่อท้อ ฉับไว แก้ปัญหาได้อย่างเด็ดขาดและท่วงที กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน มี 6 ขั้นตอน 2. 1 สำรวจปัญหา เป็นการหาสาเหตุที่เกิดขึ้นหรือเป็นการทำความเข้าใจกับปัญหา 2. 2 วิเคราะห์ปัญหา เป็นการวิเคราะห์รายละเอียดของปัญหาว่าเกิดจากสาเหตุอะไร 2. 3 สร้างทางเลือก เป็นการรวบรวมความคิดต่างๆ ที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหา 2. 4 ประเมินทางเลือก เป็นการเลือกวิธีแก้ปัญหาว่าวิธีใดที่สามารถทำได้เร็ว ประหยัด ปลอดภัย 2. 5 วางแผนปฎิบัติ เป็นการออกแบบขั้นตอนการดำเนินการแก้ปัญหา ว่าใครจะทำอะไร ส่วนไหน 2. 6 ประเมินผลการแก้ปัญหา เป็นการประเมินดูผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นและใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาครั้งต่อไป 3.

ทักษะชีวิตและงานอาชีพ สำหรับการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 – Teacher Weekly

เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบร่วมกันในการทำงานนั่นคือส่งเสริมการทำ งานเป็นทีม 2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมในการทำงานร่วมกันอย่างมีระบบและมีระเบียบวินัย รู้จักทำหน้าที่ 3. เพื่อฝึกทักษะในการแก้ปัญหา การศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดย ปฏิบัติงานทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม และมีประสบการณ์ตรงในการทำงาน 4. เพื่อให้นักเรียนได้ทำงานตามความสนใจ ความถนัด และความสามารถ ขั้นตอนในการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. ครูและนักเรียนร่วมกันกำหนดความมุ่งหมายของการทำงานในแต่ละกลุ่ม ขั้นตอนนี้เป็น ขั้นที่กำหนดความมุ่งหมายและวิธีการทำงานอย่างละเอียด 2. ครูเสนอแนะแหล่งวิทยาการที่จะใช้ค้นคว้าหาความรู้ ได้แก่ บอกรายละเอียดของหนังสือที่ ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. นักเรียนร่วมกันวางแผนและปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ครูและนักเรียนประเมินผลการทำงาน ในกรณีที่เป็นครูให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ในการปฏิบัติงาน ในกรณีนักเรียนร่วมกันประเมินผลการปฏิบัติงานในกลุ่มตนเองโดยบอกขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลที่ได้รับ และการพัฒนางานในโอกาสต่อไป ข้อดีของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1. นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างเต็มที่ 2.

2) การสร้างงานอิสระ (Work Independently) โดยกำกับติดตาม จำแนกวิเคราะห์ จัดเรียงลำดับความสำคัญ และกำหนดภารกิจงานอย่างมีอิสระปราศจากการควบคุมจากภายนอก 2. 3) เป็นผู้นำที่มีประสิทธิภาพในตนเอง (Be Self-Directed Learners) โดย (1) มุ่งมั่นสู่ความเชี่ยวชาญทั้งทางด้านทักษะ ความรู้และขยายผลสู่ความเป็นเลิศ (2) เป็นผู้นำเชิงทักษะขั้นสูง มุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพ (3) เป็นผู้นำในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และ (4) สามารถสะท้อนผลและเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากอดีตมุ่งสู่เส้นทางแห่งความก้าวหน้าในอนาคต 3) ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) ประกอบด้วย 3. 1) ประสิทธิผลเชิงปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่น (Interact Effectively with Others) โดย (1) รอบรู้ในการสร้างประสิทธิภาพ จังหวะเวลาที่เหมาะสมในการฟัง-การพูดในโอกาสต่างๆ และ (2) สร้างศักยภาพต่อการควบคุมให้เกิดการยอมรับในความเป็นผู้นำทางวิชาชีพ 3. 2) การสร้างทีมงานที่มีคุณภาพ (Work Effectively in Diverse Teams) โดย (1) ยอมรับในข้อแตกต่างทางวัฒนธรรมและภารกิจงานของทีมงานที่แตกต่างกันหลากหลายลักษณะ (2) เปิดโลกทัศน์และปลุกจิตสานึกเพื่อมองเห็นการยอมรับในข้อแตกต่าง สามารถมองเห็นคุณค่าในความแตกต่างเหล่านั้น (3) พึงระลึกเสมอว่าข้อแตกต่างเชิงสังคมและวัฒนธรรมนั้น สามารถนามาสร้างสรรค์เป็นแนวคิดใหม่ๆให้เกิดขึ้นได้ โดยการคิดค้นนวัตกรรมเพื่อการสร้างงานอย่างมีคุณภาพ 4) การเพิ่มผลผลิตและการรู้รับผิด (Productivity and Accountability) ประกอบด้วย 4.

  1. หลวงพ่อทอง วัดราชโยธา เนื้อเงิน สภาพไม่ผ่านการใช้งานผมรับซื้อ2,500,000บาท - YouTube
  2. การประยุกต์ใช้เทคนิค Surface Culture Fermentation ในการผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากไวน์สับปะรด : Research Project - KUforest
  3. ทักษะ การ ทํา งาน หมาย ถึง word
  4. ถุง ลม บอก ทิศทาง ลม
  5. รัตน ปุ ระ ศรี ลังกา
  6. ไทยเดินหน้าผนึกกำลังพันธมิตรหลายพันแห่งทั่วโลกรณรงค์สร้างการตระหนักรู้เกี่ยว | RYT9
  7. Iphone xr power buy ราคา case

ทักษะการทํางาน หมายถึง

ทักษะการทํางาน หมายถึง

เทคนิคการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม หมายถึง กลวิธีที่ครูใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปตามลำดับต่อเนื่องกันให้ได้มาซึ่งการรวมตัวกันเป็นกลุ่มของนักเรียนและการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มนักเรียนเพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เนื้อหาสาระตามวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของการสอนโดยใช้กระบวนการกุล่ม 1. ให้นักเรียนรู้จักการทำงานร่วมกัน รู้จักแบ่งงานกันทำและช่วยเหลือกัน 2. ให้เกิดการปะทะสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่ม 3. สร้างบรรยากาศในชั้นเรียนให้น่าสนใจมากยิ่งขึ้น 4. ให้นักเรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5. ผสมผสานวิธีสอนหลายๆแบบเข้าด้วยกัน 6. ครูสามารถรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล 7. เปิดโอกาสให้นักเรียนรู้จักและทำความเข้าใจซื่งกันและกัน 8. ให้นักเรียนมีโอกาสอภิปรายและแสดงความคิดเห็น 9. สามารถใช้ประสบการณ์จากกลุ่มช่วยพัฒนาการเรียนการรู้เป็นราบบุคคล องค์ประกอบของกลุ่ม 1. ผู้นำ คือผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้นำกลุ่มให้สามารถทำงานจนบรรลุเป้าหมายของกลุ่มได้ ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้นำ หากกลุ่มใดมีผู้นำที่ดี กลุ่มนั้นก็ย่อมจะมีโอกาสประสบความสำเร็จ 2. สมาชิกกลุ่ม สมาชิกกลุ่มที่ดีนั้น จำเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตน โดยรู้ว่าตนควรจะทำอะไรที่จะช่วยเอื้ออำนวยให้การทำงานเป็นทีมบรรลุผลสำเร็จ 3.

ทักษะ การ ทํา งาน หมาย ถึง

1) การจัดการโครงการ (Manage Projects) โดย (1) กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อมุ่งสู่ความสำเร็จของงาน และ (2) วางแผน จัดเรียงลำดับความสำคัญของงานและบริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง 4.

กระบวนการทำงาน คือ วิธีกลุ่มที่ใช้ในการทำงาน ผลงานของกลุ่มจะออกมาดีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับวิธีการและขั้นตอนที่กลุ่มที่ใช้ในการทำงานด้วย หากกลุ่มใช้วิธีการทำงานที่เหมาะสมกับลักษณะงาน และลักษณะกลุ่มแล้ว ผลงานก็มักมีคุณภาพตามไปด้วย ลำดับขั้นตอนการทำงาน 3. 1 ทำความเข้าใจในเป้าหมาย จุดมุ่งหมายของงาน 3. 2 วางแผนปฏิบัติในรายละเอียด 3. 3 แบ่งงานและมอบหมายงาน 3. 4 ปฏิบัติตามแผนงานและติดตามงาน 3. 5 ประเมินผลและปรับปรุงงาน สรุปสาระสำคัญของหลักการใช้กระบวนการกลุ่มในชั้นเรียน 1. สอนโดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ 2. ยึดกลุ่มเป็นแหล่งความรู้ 3. เน้นให้นักเรียนค้นคว้าและสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง 4. เน้นการใช้กระบวนการกลุ่ม 5. ให้ความสำคัญต่อกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย เพื่อนำมาใช้ควบคู่ เชื่อมโยง ผสมผสานร่วมกับกระบวนการกลุ่ม แหล่งที่มาของข้อมูล... ณรงค์ กาญจนะ. เทคนิคและทักษะการสอนเบื้องต้น. โปรแกรมวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้. คณะครุศาสตร์ แหล่งข้อมูลอื่นๆ วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน เ ป็นวิธีสอนที่ครูมอบหมายให้นักเรียนทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มร่วมมือกันศึกษาค้นคว้าหาวิธีการแก้ปัญหาหรือปฏิบัติกิจกรรมตามความสามารถ ความถนัด หรือความสนใจ เป็นการฝึกให้นักเรียนทำงานร่วมกันตามวิถีแห่งประชาธิปไตย ความมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำงาน 1.

Friday, 24 December 2021
ผล-หวย-ฮานอย-4-12-62