แบบฝึกหัด คํา มูล คํา ประสม คํา ซ้ํา คํา ซ้อน

  1. คำมูล-คำประสม-คำซ้อน-คำซ้ำ
  2. ใบงาน เรื่อง คำประสม คำซ้อน คำซ้ำ | ภาษาไทยไม่ยากอย่างที่คิด...

ทำหน้าที่เป็นกริยา เช่น เสียเปรียบ กินแรง กินนอกกินใน อ่อนใจ ดีใจ เล่นตัว วางตัว ออกหน้า หักหน้า ลองดี ไปดี ๓. ทำหน้าที่เป็นวิเศษณ์ เช่น กินขาด ใจร้าย ใจเพชร ใจร้อน หลายใจ คอแข็ง ๔. ใช้ในเชิงเปรียบเทียบ เช่น ก้มหน้า หมายถึง จำทน แกะดำ หมายถึง คนที่ทำอะไรผิดจากผู้อื่นในกลุ่ม ถ่านไฟเก่า หมายถึง หญิงชายที่เลิกร้าง ไก่อ่อน หมายถึง ยังไม่ชำนาญ นกต่อ หมายถึง คนที่ติดต่อหรือชักจูงผู้อื่นให้หลงเชื่อ การสร้างคำประสม ๑. สร้างจากคำไทยทุกคำ เช่น แม่น้ำ ที่ราบ ลูกช้าง หมดตัว กินที่ แม่ยาย ๒. สร้างจากคำไทยกับคำภาษาต่างประเทศ เช่น เผด็จการ นายตรวจ ของโปรด ๓. สร้างจากคำภาษาต่างประเทศทั้งหมด เช่น รถเมล์ รถบัส รถเก๋ง กิจจะลักษณะ ๔. สร้างคำเลียนแบบคำสมาส แต่ปนกับคำไทย เช่น ผลไม้ คุณค่า พระอู่ เทพเจ้า พระที่นั่ง ทุนทรัพย์ ข้อสังเกตของคำประสม ๑. คำประสมอาจเกิดจากคำต่างชนิดรวมกัน เช่น กินใจ (คำกริยา+คำนาม) นอกเรื่อง (คำบุพบท+คำนาม) ๒. คำประสมเกิดจากคำหลายภาษารวมกัน เช่นรถเก๋ง (บาลี+จีน) เครื่องอิเล็กโทน (ไทย+อังกฤษ) ๓. คำที่ขึ้นต้นด้วย ผู้ นัก เครื่อง ช่าง หมอ ของ เป็นคำประสม เช่น ผู้ดี, นักเรียน, ชาวนา, เครื่องยนต์ ลักษณะของคำประสม ๑.

คำมูล-คำประสม-คำซ้อน-คำซ้ำ

ซัก …………………………๒. บ้าน ………………………๓. แบบ ……………………….. ๔. อ้วน …………………. ๕. รูป…………………………. ๖. ขัด ……………………….. ๗. สนุก ……………………….. ๘. เก็บหอม………………. ๙. ภูตผี…………………….. ๑๐. ถ้วยโถ ………………………. ๑๑. ผลหมาก ……………………………… ๑๒. ข้าวยาก ……………………………๑๓. ศึกเหนือ………………………………. ๑๔. สูงต่ำ ………………………. จงทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ใช้ไม้ยมกไม่ถูกต้อง ๑. ฝนตกจั๊กๆ ตลอดวัน ๒. เขาไปดูที่ ๆ เกิดดินถล่ม ๓. พูดกันอยู่หยกๆ ก็ลืมเสียแล้ว ๔. ควรทำงานให้เสร็จเป็นอย่างๆ ไป ๕. เขาเป็นคนดีๆจนไม่มีเรื่องให้ติ ๖. นักเรียนที่ดีไม่ควรเที่ยวดึกๆดื่นๆ ๗. คนที่ไม่ใส่ใจในสุขภาพ ก็จะเจ็บออดๆแอดๆ ๘. นกเป็นร้อยๆ ร้องเพลงเพรียกอยู่ตามยอดไม้ ๙. เขาออกกำลังกายทุกวันๆละ ๓๐ นาที ๑๐. เขาใช้ยางลบๆ รอยดินสอที่สกปรกออก

คำซ้อนเพื่อความหมาย - นำคำที่มีความหมายเหมือนกันมาซ้อนกัน เช่น จิตใจ บ้านเรือน - นำคำที่มีความหมายใกล้เคียงกันมาซ้อนกัน เช่น เบื่อหน่าย ถ้วยชาม - นำคำที่มีความหมายตรงกันข้ามมาซ้อนกัน เช่น ยากง่าย 2. คำซ้อนเพื่อเสียง ประกอบด้วยคำตั้งแต่ 2 คำที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะเสียงเดียวกันหรือมีเสียงสระคู่กัน เช่น รุ่งริ่ง ฟูมฟาย ฟื้นฟู ซักไซ้ ถากถาง ทอดถอน วุ่นวาย อึกอัก โยเย โวยวาย โครมคราม ส่วนคำซ้อนที่สร้างขึ้นเพื่อความไพเราะของเสียง จะเป็นลักษณะนำคำมูลสองคำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนกันมารวมกันเป็นหนึ่งคำ แต่จะมีความหมายตัวเดียวหรือความหมายไม่ได้อยู่ที่คำทั้งสองก็ได้ เช่น เซ่อซ่า เสียง /ซ/ เหมือนกัน แต่ความหมายอยู่ที่คำว่า "เซ่อ" เราใส่ซ่าเพื่อความไพเราะ หรือคำซ้อนเพื่อเสียงแบบความหมายไม่ได้อยู่ที่สองคำก็ได้ เช่น โลเล โผงผาง เก้งก้าง อุ้ยอ้าย ความแตกต่างของคำประสมกับคำซ้อนมีดังนี้ 1. เป็นการนำคำตั้งแต่สองคำขึ้นไปมารวมกันเพื่อสร้างคำใหม่ (ใช้เรียกสิ่งใหม่ๆ) 2. สองคำนั้นความหมายต้องไม่เหมือน ไม่คล้าย และไม่ตรงข้ามกัน 3. น้ำหนักของคำจะเด่นที่คำแรก (คำต้น) 1. นำคำตั้งแต่สองคำขึ้นไปมารวมกันเพื่อเน้นความหมายขยายาความ (ไม่ใช่สร้างคำใหม่) 2.

  • De juice hair stylist สยาม
  • Idol school ep 9 ซับ ไทย voathai.com
  • หุงข้าวมันไก่ในหม้อหุงข้าว
  • 'ม.33 เรารักกัน' ลงทะเบียน พรุ่งนี้ ‘มนุษย์เงินเดือน’ เช็คเลย 5 เงื่อนไข
  • คำมูล-คำประสม-คำซ้อน-คำซ้ำ
  • แบบสอบถามการเลือกใช้บัตรเครดิต - SurveyCan – เครื่องมือในการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ได้เองอย่างมืออาชีพ ฟรี

ใบงาน เรื่อง คำประสม คำซ้อน คำซ้ำ | ภาษาไทยไม่ยากอย่างที่คิด...

ห้อง ครัว บิ้ ว อิน สวย ๆ

ความหมายอยู่ที่คำใดคำหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง คำอื่นหรือกลุ่มอื่นไม่ปรากฏความหมาย เช่น หน้าตา ปากคอ เท็จจริง ดีร้าย ผิดชอบ ขวัญหนีดีฝ่อ ถ้วยชามรามไห ๒. ความหมายอยู่ที่ทุกคำแต่เป็นความหมายที่กว้างออกไป เช่น เสื้อผ้า ไม่ได้หมายเฉพาะเสื้อกับผ้า แต่รวมถึงเครื่องนุ่งห่ม เรือแพ ไม่ได้หมายเฉพาะเรือกับแพ แต่รวมถึงยานพาหนะทางน้ำทั้งหมด ข้าวปลา ไม่ได้หมายเฉพาะข้าวกับปลา แต่รวมถึงอาหารทั่วไป ๓. ความหมายอยู่ที่คำต้นกับคำท้ายรวมกัน เช่น เคราะห์หามยามร้าย ( เคราะห์ร้าย) ชอบมาพากล (ชอบกล) ฤกษ์งามยามดี (ฤกษ์ดี) ยากดีมีจน (ยากจน) ๔. ความหมายอยู่ที่คำต้นหรือคำท้าย ซึ่งมีความหมายตรงข้ามกัน เช่น ชั่ว ดี (ชั่วดีอย่างไรเขาก็เป็นเพื่อนฉัน) ผิดชอบ (ความรับผิดชอบ) เท็จจริง (ข้อเท็จจริง) ____________________________________________________________________________________________________________________________________ คำประสม คำประสม คือ คำที่เกิดจากการนำคำมูลตั้งแต่ 2 คำขึ้นไป และมีความหมายต่างกันมาประสมกันเป็นคำใหม่คำมูลที่นำมาประสมกันอาจเป็นคำนาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ์ และบุพบทก็ได้ หน้าที่ของคำประสม ๑. ทำหน้าที่เป็นนาม, สรรพนาม เช่น พ่อครัว พ่อบ้าน แม่พระ ลูกเสือ น้ำตก ช่างไม้ ชาวบ้าน เครื่องบิน หัวใจ นักการเมือง หมอตำแย ของเหลว ๒.

สองคำนั้นความหมายต้องเหมือนต้องคล้ายหรือต้องตรงข้ามกัน 3. น้ำหนักของคำเด่นพอๆ กัน คำซ้ำ คือคำที่เหมือนกันทั้งเสียงและความหมาย เรียงกันอยู่โดยใช้ไม้ยมก (ๆ) แทนคำหลัง(เพราะขี้เกียจเขียนซ้ำ) คำซ้ำอาจคงความหมายเดิมของคำแรกหรืออาจมีน้ำหนักยิ่งขึ้นหรือเบาบางหรือแสดงจำนวนมากกว่าหนึ่ง แต่ไม่ใช่จะซ้ำกันง่ายๆ ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ด้วย ๑. คำที่ต้องเป็นคำซ้ำ ส่วนมากเป็นคำวิเศษณ์ เช่น หยิมๆ หลัดๆ ดิกๆ ยองๆ ๒. นำคำซ้อนมาแยกเป็นคำซ้ำ เช่น เจ็บไข้ เป็น เจ็บๆ ไข้ๆ เลียบเคียง เป็น เลียบๆ เคียงๆ อิดเอื้อน เป็น อิดๆ เอื้อนๆ ๓. นำคำซ้ำมาประกอบเป็นคำซ้อน เช่น เปรี้ยวๆ เค็มๆ นั่งๆ นอนๆ เราๆ ท่านๆ ๔. คำซ้ำมีความหมายผิดไปจากคำมูลเดิม แต่ยังคงมีเค้าของความหมายเดิม ๔. ๑ บอกพหูพจน์ คำเดิมอาจเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ก็ได้ เมื่อเป็นคำซ้ำกลายเป็นพหูพจน์อย่างเดียว เช่น เด็กๆ เล่นฟุตบอล หนุ่มๆ มากับสาวๆ ๔. ๒ บอกความไม่เจาะจง การจำแนกเป็นพวก และความเป็นพหูพจน์ เช่นเชิญผู้ใหญ่ๆ ไปทางโน้น เด็กๆ มาทางนี้ ๕. บอกความหมายใหม่ไม่เนื่องกับความหมายของคำมูลเดิมเช่น พื้นๆ (ธรรมดา) กล้วยๆ (ง่าย) น้องๆ (เกือบ, ใกล้, คล้าย) อยู่ๆ ( เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว) งูๆปลาๆ ๖.

  1. Courtyard villa พระราม 9 วงแหวน d
  2. ส่ง ประกัน สังคม มาตรา 33
  3. The hunger games ภาค 1.6
  4. โปรแกรม บอล พรีเมียร์ ลีก วัน นี้ pptv
  5. Npe xl 1000 มือ สอง
Friday, 24 December 2021
หา-งาน-ทา-พรอม-ทพก-ฟร